ครู คศ. 3 at โรงเรียนอนุบาลนครพนม 1. วรรณยุกต์ วรรณยุกต์ คือ เครื่องหมายที่ทาให้เสียงและความหมายของคาเปลี่ยนไปจากเดิมวรรณยุกต์มี ๔ รูป ๕ เสียง ดังนี้ ชื่อวรรณยุกต์ - ไม้เอก ไม้โท ไม้ตรี ไม้จัตวา รูปวรรณยุกต์ - † ‡ เสียงวรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวาการผันวรรณยุกต์ การผันวรรณยุกต์ คือการเปลี่ยนเสียงของวรรณยุกต์ วรรณยุกต์พยัญชนะ สระ คา † ‡ จ -า จา จ่า จ้า จ๊า จ๋า ต ตี ตี ตี่ ตี้ ตี๊ ตี๋ ป ดู ปู ปู† ปู‡ ปู๊ ปู๋ อ โ- โอ โอ่ โอ้ โอ๊ โอ๋ ก แ- แก แก่ แก้ แก๊ แก๋ วารุณี บารุงสวัสดิ์ @thwarunee หน้า ๑ 2. พยัญชนะไทย แบ่งเป็น ๓ หมู่ คืออักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่า ซึ่งอักษรแต่ละหมู่จะผันวรรณยุกต์ได้ต่างกัน การผันวรรณยุกต์อกษรกลาง ั ๑. อักษรกลาง มี ๙ ตัว คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อและเมื่อประสมด้วยสระเสียงยาว จะผันวรรณยุกต์ ได้ ๕ เสียง ดังนี้ รูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คา คาอ่าน - เสียงสามัญ อา ออ - อา - อา † เสียงเอก อ่า อา - เอก- อ่า ‡ เสียงโท อ้า อา - โท - อ้า เสียงตรี อ๊า อา - ตรี - อ๊า เสียงจัตวา อ๋า อา - จัตวา - อ๋า ๒. การผันวรรณยุกต์อักษรสูง อักษรสูงมี ๑๑ ตัว คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส หอักษรสูงที่ประสมด้วยสระเสียงยาว ผันวรรณยุกต์ได้ ๓ เสียงรูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ คา คาอ่าน เสียงจัตวา ผา ผอ - อา - ผา † เสียงเอก ผ่า ผอ - เอก - ผ่า ‡ เสียงโท ผ้า ผอ - โท - ผ้า ๓.

แบบ ฝึก อักษร ย่อ ป 5.3

  1. อาการชา รู้ก่อน รักษาทัน เอินเวย์ มีทางออก
  2. อาหาร คน ลํา ไส้ อักเสบ
  3. แบบ ฝึก อักษร ย่อ ป 5.1
  4. มายอ ง เน ส อร่อย
  5. Bio essence bio energy complex รีวิว white
  6. ช่างปาร์เก้ ดล ขัดปาร์เก้ไร้ฝุ่น ปูปาร์เก้ ซ่อมปาร์เก้ทุกชนิด โทร 0817751618
  7. แบบ ฝึก อักษร ย่อ ป 5.3
  8. รพ พญาไท 2 call center

DLTV มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

มาบพระจันทร์ ย่อว่า บจ. ขอนแก่น ย่อว่า ขอ. พัทลุง ย่อว่า พท. เป็นต้น อร. อรัญประเทศ – ลง. ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก ย่อ 3: สลับตัวอักษร อันนี้คือการเอาหลักการที่ 1 และ 2 มาผสมผสานกัน แต่เรียงตัวย่อไม่ตรงพยางค์ คืออาจจะเอาพยางค์หลังมาขึ้นก่อนพยางค์หน้า แต่สุดท้ายแล้วตัวอักษรนั้นก็อยู่ในชื่อสถานีนั้น เช่น ห้วยยายจิ๋ว ย่อว่า จย. (เอาจิ๋วมาก่อนยาย) แต่แบบนี้มีน้อยมากกกกกก ย่อ 4: เอาสระและวรรณยุกต์มาช่วย อันนี้เป็นอีกอันที่พบได้บ่อยครับ แต่จะอยู่ในกรณีที่ย่อแบบ 1 และ 2 ไม่ได้แล้ว คือไม่ซ้ำกับสถานีอื่นๆ ก็ไม่รู้จะย่อยังไงแล้ว เลยต้องดึงสระในชื่อสถานีออกมาช่วย ซึ่งจะเรียงตรงพยางค์หรือสลับพยางค์ก็ได้เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น ควนเนียง ย่อเป็น เน. สุไหงโก-ลก ย่อเป็น โล. ลำนารายณ์ ย่อเป็น ลา. แต่ก็ต้องระวังด้วยว่าบางสถานีตัวย่อคล้ายกันมากแค่สลับตัวอักษรกันเท่านั้น ถ้าเรียงผิดคือผิดสายไปเลย เช่น หาดใหญ่ ย่อเป็น หใ. ก็มีสถานีที่คล้ายกันคือ บุใหญ่ ย่อเป็น ให. ซึ่งหาดใหญ่อยู่สงขลาและบุใหญ่อยู่สระบุรี ย่อ 5: เอาเสียงมาเป็นตัวย่อ เทคนิคนี้คือการใช้เสียงมาย่อแทน ความมหัศจรรย์ของตัวอักษรไทยคือการที่มีพยัญชนะเสียงเดียวกันหลายรูปแบบ ทำให้ดึงตัวอักษรอื่นๆ มาใช้แทนกันได้ จึงช่วยเรื่องการย่อได้ดีอีกวิธี เช่น นครศรีธรรมราช ก็ย่อว่า ธำ.

แบบฝึกทักษะการเขียนย่อความ - แผนการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย

รถข้างสูง ก็ย่อว่า ขส. เป็นต้น รถตู้ใหญ่ ตัวย่อ ตญ. แบบที่ 2 รถ 8 ล้อ ก็คือตู้รถไฟที่มี โบกี้ เป็นส่วนประกอบเข้าไป เรียกในทางเทคนิคว่า 'รถโบกี้' เพราะรถมีขนาดใหญ่ขึ้น ตัวรับน้ำหนักจึงต้องมากขึ้น ตัวย่อจะเริ่มบังเกิดเป็น 3 ตัวอักษรโดยมี บ ย่อมาจาก 'รถโบกี้' นั่นเอง เพื่อให้บรรดาคนทำงานรู้ได้ว่ารถแบบนี้มีโบกี้เป็นส่วนประกอบนะ เช่น รถโบกี้ชั้นสาม ก็ย่อว่า บชส. (บ = รถโบกี้, ช = ชั้น และ ส =สาม) รถโบกี้ตู้ใหญ่ ก็ย่อว่า บตญ. (บ = รถโบกี้, ต = ตู้ และ ญ = ใหญ่) เป็นต้น รถโบกี้ตู้ใหญ่ ตัวย่อ บตญ. ก่อนขึ้นแบบที่ 3 อันนี้ขอเล่าก่อนว่าการเรียกขานชั้นของรถไฟนั้นใช้คำโบราณ กล่าวคือ ชั้นสามจะใช้ตัวย่อ ส ตามปกตินี่แหละ แต่ว่าถ้าเป็นชั้นสองจะมาใช้ ส ย่อเหมือนกันไม่ได้ ไม่งั้นจะงงแน่นอน เลยย่อเป็น ท = โท และชั้นหนึ่ง ย่อว่า อ = เอก ฉะนั้น รถนั่งชั้นสองจึงย่อว่า บชท. รถนอนชั้นหนึ่งจึงย่อว่า บนอ. แบบนี้ยังไงล่ะ รถโบกี้ชั้นสาม ตัวย่อ บชส. รถโบกี้ชั้นสอง ตัวย่อ บชท. แบบที่ 3 รถดีเซลราง คือรถที่มีกำลังขับเคลื่อนในตัวเองโดยไม่ต้องใช้หัวรถจักรลาก ตัวย่อมี 3 ตัว อันนี้การรถไฟเขากำหนดตัวย่อไว้คือ ซ เห็น ซ เมื่อไหร่ตีความได้เลยรถดีเซลรางแน่นอน เช่น รถกำลังดีเซลรางมีห้องขับ ก็ย่อว่า กซข.

ถอดรหัสตัวย่อการรถไฟไทย ภาษาทิพย์ที่เพียงคนรถไฟเข้าใจและใช้กันมายาวนาน - The Cloud

แบบ ฝึก อักษร ย่อ ป 5.5

ที่เป็นตัวจี๊ดกันบ้าง ทำไมถึงจี๊ด ก็เพราะสถานีมีครึ่งพัน จะทำยังไงให้ง่ายต่อจำมากที่สุด ที่คนทำงานเห็นปุ๊บรู้ปั๊บ อีกทั้งการส่งข้อความด้วยโทรเลขในสมัยก่อนต้องกระชับ สั้น เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ทำอย่างไรจึงจะย่อให้เข้าใจง่ายที่สุด จึงเกิดเป็นศาสตร์ของการย่อสถานีรถไฟจำนวนเกินครึ่งพันของ รฟท. ที่มหัศจรรย์มากว่าไม่มีที่ไหนซ้ำกันเลย และความยากสุดขีดคือ มันถูกกำหนดให้ใช้ตัวอักษรหรือสระแค่ 2 ตัวมาประกอบกันเท่านั้น มาดูกันครับว่าศาสตร์การย่อใช้เทคนิคอะไรบ้าง ย่อ 1: ตรงตัวเอาอักษรต้นมาย่อ สถานีแบบนี้ไม่ค่อยมีปัญหาเท่าไหร่ เบสิกสุด ย่อไม่ยาก เดาไม่ยาก ออกเสียงยังไงก็ย่อแบบนั้น ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่สถานีใหญ่ๆ สถานีสำคัญๆ เช่น กรุงเทพ ย่อว่า กท. ดอนเมือง ย่อว่า ดม. พิจิตร ย่อว่า พจ. หัวหิน ย่อว่า หห. กันตัง ย่อว่า กต. เป็นต้น ถ้าเป็นสถานีที่มีชื่อ 2 พยางค์จะเดาง่ายหน่อย แต่ถ้าหากมีจำนวนพยางค์มากกว่านั้นก็อาจนำอักษรต้นของพยางค์ไหนก็ได้มาย่อ เช่น อุตรดิตถ์ ย่อว่า อด. นครลำปาง ย่อว่า ลป. ปาดังเบซาร์ ย่อว่า ปซ. นครราชสีมา ย่อว่า รส. เป็นต้น ย่อ 2: ตรงตัวแต่ดึงอักษรอื่นที่ไม่ใช่พยัญชนะต้นมาช่วย ย่อแบบนี้อาจมีชะงักเล็กน้อย เพราะว่าตัวย่อที่ดึงมาจากชื่อสถานีเป็นตัวสะกด อักษรนำ ตัวการันต์ หรือตัวอักษรใดๆ ที่ไม่ใช่พยัญชนะต้น เช่น สวรรคโลก ย่อว่า สว.

แบบ ฝึก อักษร ย่อ ป 5.1
พระ-สมเดจ-พมพ-ทรง-เจดย-วด-ระฆง-ชะลด-ใหญ
Sat, 14 Aug 2021 06:28:34 +0000