/ไร่ ส่วนบ่อเก่าที่ใช้เลี้ยงมา 2-3 ปี แล้วหรือบ่อที่เคยเลี้ยงกุ้งกุลาดำมาก่อนให้ไถพรวนดินก้นบ่อแล้วสูบน้ำทิ้งเพื่อลดปริมาณสารอินทรียซึ่งทำให้ก้น บ่อเน่าเสียแล้วหว่านปูนขาว 200-300 กก.

การเตรียมบ่อ | pannikab

5-8. 5 แต่ถ้าเป็นกุ้งขาวหรือกุ้งก้ามกรามหรือปลาให้ปรับค่าพีเอชอยู่ที่ 7. 0 นะครับจึงจะถือว่าเหมาะสมที่สุดครับ หลังจากนั้นจึงค่อยนำกุ้งหรือสัตว์นำที่เราต้องการนำมาเลี้ยงปล่อยลงไป หลังจากนั้นจึงค่อยๆ ทำการเพิ่มระดับน้ำขึ้นมาตามลำดับจนถึง 1. 8 – 2 เมตร จึงดีที่สุดครับ มนตรี บุญจรัส ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ

การปล่อยกุ้งก้ามกรามลงเลี้ยง การปล่อยลงกุ้งก้ามกรามลงเลี้ยงควรทำหลังจากเตรียมสีน้ำแล้ว แต่ไม่ควรเกิน 7 วัน นับจาก วันที่สูบน้ำเข้าบ่อเลี้ยง เนื่องจากหากปล่อยไว้นานศัตรูของกุ้งตามธรรมชาติจะเจริญเติบโต ทำอันตรายและจับกุ้งกินได้ น้ำในบ่อต้องมีระดับความลึกระหว่าง 60 – 80 ซ. ม. ในช่วงแรกของ การปล่อย อัตราการปล่อยลูกกุ้งก้ามกรามลงเลี้ยงในการเลี้ยงแบบพัฒนา แบ่งได้ 3 รูปแบบ อัตราความหนาแน่นต่ำ อัตราการปล่อย 20, 000-25, 000 ตัวต่อไร่ กุ้งก้ามกรามจะเจริญ เติบโตเร็ว สามารถทำการจับคัดกุ้งตัวเมีย, กุ้งจิ๊กโก๋ ออกขายได้ เมื่อเลี้ยงครบ 3. 5 เดือน (105 วัน) จากนั้นทำการจับได้อีก 5 ครั้ง โดยทำการจับทุกๆ 30 วัน หรือ 45 วัน ใช้เวลาการเลี้ยงทั้งสิ้น 8-9 เดือน อัตราความหนาแน่นปานกลาง อัตราการปล่อย 75, 000-80, 000 ตัวต่อไร่ เมื่อเลี้ยงครบ 3.

การปล่อยกุ้งก้ามกรามลงเลี้ยง | การเลี้ยงกุ้ง

ซึ่งเทคนิคในการเลือกดูพันธุ์กุ้งที่ว่ายน้ำ ปราดเปรียว แข็งแรง 4 ก่อนใส่พันธุ์กุ้งลงไปให้เติมน้ำลงไปในบ่อให้มีระดับประมาณ 50 ซม.

ร. บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ. ศ. 2535 (ไม่ต้องทะเลาะระหว่างชาวนาข้าวกับชาวนากุ้ง) โทร. ถามผมได้ หรือจะมาศึกษาดูงานก็เชิญได้…ผมยินดีต้อนรับทุกคนทุกคณะครับ" ผู้เขียนเคยไปเยี่ยมชมฟาร์มเลี้ยงกุ้งก้ามกรามคุณธนู หอมชุนภิรมย์ เมื่อปี 55 ซึ่งบัดนี้ได้เลี้ยงกุ้งขาวร่วมด้วย หมายเหตุ: คุณธนู หอมชุนภิรมย์ เลขที่ 15/3 หมู่ที่ 6 ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 095 1509019

การเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม | giantfreshwaterprawn

/ ไร่ นำคลอรีนใส่ถัง กวนจนคลอรีนละลายแล้ว เทลงบ่อเลี้ยงเคล้าให้ทั่วทั้งบ่อ เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดควรใส่ช่วงเย็น ที่ค่า pH 7. 3-7. 8 หรือใช้ไตรคลอร์ฟอน 1-1. 5 กก. /ไร่ ละลายไตรคลอร์ฟอนเช่นเดียวกับคลอรีน เทลงบ่อเลี้ยงเคล้าให้ทั่วทั้งบ่อ ใส่ช่วงบ่าย ที่มีค่า pH 7. 8 ขึ้นไป จากนั้นทำการเบื่อปลาโดยใช้ กากชา 20-30 กก. /ไร่ หรือน้ำกากชา 10-20 กก. /ไร่ โดยใช้กากชากำจัดพวกซูโอแทมเนียม โปรโตซัว หอยเจดีย์ ทำสีน้ำ การใช้ปุ๋ยเคมี เมื่อทำการฆ่าเชื้อโรคและตากบ่อเรียบร้อยแล้ว หลังจากนั้นก็ทำการใส่ปุ๋ยเคมี 0. 8-1. 6 กก. /ไร่ ใส่ทุก 3 วัน จนกว่าสีน้ำจะเป็นสีเขียว ก็สามารถปล่อยกุ้งได้เลย การใช้สีน้ำเทียม ในการทำสีน้ำก่อนการปล่อยกุ้ง 1 วัน เพื่อช่วยพรางแสงจะป้องกันให้กุ้งไม่เกิดการตื่นกลัว และเครียดจนเกินไป เนื่องจากถ้าน้ำใส นกและนักล่าก็จะมองเห็นลงมากินกุ้งในบ่อได้ และกรณีของการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม กุ้งกุลาดำ และกุ้งขาวที่ปล่อยในระดับน้ำตื้น เมื่อเจอแดดจัดในตอนกลางวันจะทำให้พื้นก้นบ่อมีความร้อนเพิ่มขึ้น ดังนั้นควรจะทำสีน้ำให้มีสีเขียวแกมน้ำเงินหรือสีเขียว

  • Plum Condo Ram 60 Interchange (พลัมคอนโด ราม 60 อินเตอร์เชนจ์) ส่วนกลางขนาดใหญ่ 2,000 ตร.ม. ใกล้รถไฟฟ้า 350 ม. | เช็คราคา.คอม
  • การ์ตูน นัก ฟุตบอล น่า รัก
  • พรีเมียร์ลีก เวลา : 18:30 น. ลิเวอร์พูล -VS- นิวคาสเซิ่ล ยูไนเต็ด - เซียนสนามบอล
  • การปล่อยกุ้งก้ามกรามลงเลี้ยง | การเลี้ยงกุ้ง
  • Canon eos 550d ราคา มือ สอง hd
  • ภาษา มลายู ใน ชีวิต ประ จํา วัน
  • ไทย-มาเลย์ เปิดชำระเงินระหว่างประเทศผ่านระบบ QR Code เป็นครั้งแรก : อินโฟเควสท์
  • กุ้งก้ามกราม เลี้ยงง่าย ไม่ต้องใช้น้ำเค็ม
  • เฉลย หนังสือ อังกฤษ ม 5

เลี้ยงกุ้งก้ามกรามในบ่อปูน!! เพิ่มพูนรายได้ - YouTube

เทคนิค เลี้ยงกุ้งยักษ์ในบ่อซีเมนต์แบบง่ายๆ ได้ยอดขายโลเป็นพัน

สัตว์เซลล์เดียว (Protozo) ได้แก่ ซูแทมเนียม (Zoothamnium sp. ) เอพิสไทลิส (Epistylis sp. ) และลาจีนอฟรีส (Lagenophrys sp. ) ซึ่งอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เกาะอยู่ข้างลำตัวกุ้ง วิธีรักษา ใช้น้ำยาฟอร์มาลิน (Forma- lin) ใส่ในถังเพาะพันธุ์ให้มีความเข้มข้น ๒๕-๕๐ ส่วนในล้าน (ppm. ) หรือใส่จุนสี (CuSo ๔) ละลาย น้ำในอัตราส่วน ๐. ๐๐๒๕ กรัมต่อน้ำ ๑ ตัน ๓. บัคเตรี จำพวกไวบริโอ (Vibrio sp. ) และซูโดโมนัส (Pseudomonas sp. ) เมื่อเกิดกับตัวกุ้ง จะมีลักษณะสีขาวขุ่น เมื่อเป็นแล้วลูกกุ้งไม่ค่อยกินอาหาร จะทำให้อ่อนแอและตายไปในที่สุด วิธีรักษา ใช้ยาจำพวกยาปฏิชีวนะ (antibiotic) เช่น ยาฟูราเนซ (furanace) ใส่ในอัตรา ๐. ๑ ส่วนในล้าน ออกซีเททระไซคลิน (Oxyte- tracycline) ในอัตรา ๒ - ๕ กรัมต่อน้ำ ๑ ตัน นอกจากศัตรูและโรคดังกล่าวยังพบโรคเรืองแสง ซึ่งยังไม่พบวิธีรักษาที่ได้ผล นอกจากป้องกันโดยการฆ่าเชื้อในน้ำทะเล ก่อนที่จะนำมาใช้เลี้ยงลูกกุ้ง เมื่อลูกกุ้งคว่ำลงเกาะพื้นก้นบ่อ ซึ่งใช้เวลาประมาณ ๓๐ - ๔๕ วัน สามารถนำไปเลี้ยงในบ่อใหญ่ได้ แต่ก่อนที่จะนำไปเลี้ยงในบ่อใหญ่ ควรอนุบาลลูกกุ้งต่อไปอีก ๑-๒ เดือน ทั้งนี้เพื่อให้ลูกกุ้งแข็งแรงพอเสียก่อน

การเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้งก้ามกราม สูบน้ำออกจากบ่อและกำจัดศัตรูกุ้ง ได้แก่ ปลา กบ เขียด ปู นก โดยใช้ปูนขาว โล่ติ๊น กากชา หรืออาจใช้เฝือก อวนไนล่อนล้อมรอบคันบ่อ และ หมั่นตรวจดูคันบ่อทุกวันเพื่อกำจัดศัตรูกุ้งโดยเฉพาะพวกปูตัวเล็กๆ ซึ่งเป็นศัตรูสำคัญที่คอยแย่งอาหารกุ้งห้ามใช้ยาฆ่าปูเป็นอันขาด เพราะจะทำให้กุ้งตายไปด้วย ควรกำจัดพันธุ์ไม้น้ำหรือวัชพืชอื่นๆ ที่เป็นแหล่งหลบซ่อนของศัตรูกุ้งและยังทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเลี้ยงและการจับกุ้ง จากนั้นให้หว่านปูนขาวขณะดิน เปียกประมาณ 60-100 กก. /ไร่ แล้วตากบ่อทิ้งไว้ 1-2 อาทิตย์ จนบ่อแห้ง กรณีที่บ่อมีเลนมากควรปาดเลนก่อนหว่านปูนขาวและตากบ่อ ยกเว้น กรณีดินเปรี้ยว ไม่ต้องปาดเลนทิ้งเพราะจะทำให้บ่อเป็นกรด การตากบ่อจะช่วยให้แก๊สพิษบางตัวระเหยและถูกทำลายโดยแสงแดดและความร้อน และยังช่วย ฆ่าเชื้อโรคบริเวณ ก้นบ่อรวมทั้งช่วยกำจัดศัตรูกุ้งด้วย สำหรับบริเวณที่เคยเป็นนาข้าวเก่าแล้วยังปรับพื้นที่มาเป็นนากุ้ง ส่วนใหญ่จะมีสภาพเป็นกรดหรือที่เรียกว่าดินเปรี้ยว เนื่องจากเป็นพื้นที่ ที่มี การใช้ปุ๋ยเคมีมากติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะปุ๋ยไนโตรเจนในสภาพพื้นที่แบบนี้ควรใส่ปูนขาวให้มากขึ้น สำหรับบ่อใหม่สภาพดินที่เป็นกรดให้ใช้ ปูนขาว 80-100 กก.

๑ มิลลิกรัมต่อลิตร และไนไทรต์ไม่ให้เกิน ๑. ๕ มิลลิกรัมต่อลิตร ความเป็นกรด - ด่าง ความเป็นกรด - ด่าง ของน้ำ จะมีผลเสียต่อลูกกุ้ง เมื่อต่ำหรือสูงกว่า ๗ - ๘. ๕ ศัตรูและโรค ในการเพาะพันธุ์กุ้งก้ามกรามนั้น จะต้องรักษาน้ำ อาหาร อากาศ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการเพาะพันธุ์ให้สะอาด และมีคุณสมบัติที่เหมาะสมอยู่เสมอ ซึ่งเป็นการป้องกันศัตรูและโรคของลูกกุ้งได้ดีที่สุด และในทางปฏิบัติ ความสกปรกของอุปกรณ์ต่างๆ ในโรงเพาะฟัก และความผิดพลาดทางเทคนิคของการเพาะเลี้ยง เป็นสาเหตุให้ประสบปัญหาเกี่ยวกับศัตรูและโรคเป็นประจำ บางครั้งทำให้ได้ผลิตผลต่ำมาก หรือไม่ได้เลย พอจะประมวลสาเหตุได้ ดังนี้ ๑. น้ำที่ใช้เพาะพันธุ์ไม่มีการกรอง หรือไม่สะอาดเพียงพอ ทำให้มีสัตว์ขนาดเล็กเล็ดลอดเข้าไปเจริญเติบโตในถังเพา ะพันธุ์กุ้งได้ และจะกินลูกกุ้ง หรือปล่อยสารพิษออกมา ทำให้ลูกกุ้งตาย สัตว์เหล่านี้ได้แก่ ลูกปลา และไฮโดรซัว (Hydrozoa) ซึ่งมีวิธีป้องกันได้ โดยการกรองน้ำ หรือใช้สารเคมีฆ่าเชื้อต่างๆ ให้น้ำสะอาดเสียก่อน เมื่อสารเคมีหมดฤทธิ์ จึงนำมาใช้ในการเพาะเลี้ยงกุ้งวัยอ่อน ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันโรคและศัตรูทุกชนิด ๒.

พระ-สมเดจ-พมพ-ทรง-เจดย-วด-ระฆง-ชะลด-ใหญ
Wed, 11 Aug 2021 00:59:23 +0000