การใช้ปากกาหมึกสีดำ จดบนกระดาษสีขาว ช่วยให้อักษรมีความชัดเจน และมีพลังเยี่ยมยอด กระตุ้นความอยากอ่านได้ดี 7. ส่วน Tips การอ่านนั้น ควรตั้งสติให้สมองผ่อนคลาย รวมทั้งสร้างความตั้งใจ เพราะการอ่านเพียง 1 ชั่วโมง ที่รู้สึกว่าตั้งใจ จะเรียนรู้ได้ดีกว่า อ่านหลายชั่วโมงที่กำลังล้า เพราะแทนที่จะได้ความรู้ อาจจะไม่ได้อะไรเลย 8. ปิดท้ายในแต่ละวันด้วยการจดบันทึก ทบทวนเรื่องต่างๆ จะช่วยจัดระเบียบความคิด ทำให้สมองคิดบวก และหลั่งสารเคมีที่ดีออกมา แหล่งอ้างอิง:

4 เทคนิคเพิ่มหน่วยความจำสมองที่ล้า ให้กลับมาดีอีกครั้ง - Zipevent

สุดยอดวิธีเพิ่มความจำ | รู้หรือไม่ - DYK - YouTube

  • 7 วิธีเพิ่มความจำ และกำราบอาการ “ขี้ลืม” ได้อยู่หมัด | organicbook
  • ขายจ้า!! พลัม นวมินทร์ คอนโด ห้องสวย วิวโล่ง ลมดี เงียบสงบเหมาะกับพักผ่อน ฟรี เฟอร์!! | Livinginsider
  • รถ กระบะ ตอน เดียว มือ สอง ราคา ไม่ เกิน 50000
  • 6 สุดยอดวิธีเพิ่มประสิทธิภาพความจำของคุณ - nuttaputch.com
  • Www pmr ac th โรงเรียน พระแม่มารี 2017
  • ท่อ สูตร บี ท 110 cv
  • บริษัท กรี น ไล ท์ อินเตอร์ เนชั่นแนล จํา กัด
  • โหลด เกม the sims medieval pc

หัวเราะเสียงดังๆ ไม่ต้องทำอะไรมาก แค่ทำจิตใจให้อารมณ์ดี และหัวเราะออกมาดังๆ แม้ชีวิตจะเครียดแค่ไหน ในแต่ละวันก็ต้องอย่าลืมที่จะหัวเราะบ้างค่ะ เพราะความเครียดจะส่งผลไม่ดีต่อร่างกาย ทำให้เจ็บป่วยง่าย และส่งผลกระทบต่อเซลล์สมอง และสมองส่วนฮิปโปแคมปัส ที่มีส่วนสัญในการสร้างความจำ และจดจำความทรงจำค่ะ ดังนั้น อย่างน้อยในแต่ละวันก็ต้องหัวเราะสักครั้งค่ะ แถม การหัวเราะจะช่วยผ่อนคลายความเครียด และปล่อยสารเคมีที่ทำให้ตัวเรารู้สึกมีความสุข 4. เขียนเตือนความจำ เพื่อกันลืม เราก็ต้องโน้ตหรือเขียนไว้เตือนความจำ คล้ายๆ กับการทำ To do list นั่นแหละค่ะ ต่อให้มีหลายเรื่องที่ต้องทำ เราก็ไม่ลืมสิ่งที่ต้องรับผิดชอบ หรือเดดไลน์ไปได้ง่ายๆ แม้ทุกวันนี้เทคโนโลยีอย่างสมาร์ทโฟนจะมีฟังก์ชั่นช่วยเตือนความจำ แต่วิธีที่ดีต่อความจำเราก็คือ การเขียนด้วยมือของเราลงไปในกระดาษค่ะ เพราะระหว่างที่เขียน มันจะช่วยให้สมองจำสิ่งที่เขียนไปด้วย 5.

นอนหลับให้ได้ 7 – 8 ชั่วโมง การนอนหลับ 7 – 8 ชั่วโมงจะช่วยให้ความจำดีขึ้น เพราะระหว่างที่เราหลับ สมองจะซึมซับเอาเหตุการณ์หรือข้อมูลใหม่ ๆ ที่เพิ่งได้รับมา แล้วเก็บบันทึกไว้เป็นความจำระยะสั้น และพัฒนาต่อไปเป็นความจำระยะยาว ดังนั้นหากเราพักผ่อนไม่เพียงพอ หรือนอนหลับไม่สนิท ก็จะทำให้สมองทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ และการงีบระหว่างวัน โดยเฉพาะหลังจากได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ก็เป็นการช่วยเรื่องการจดจำได้เช่นกัน 4. จดบันทึก และบอกเล่าเรื่องราวหรือสิ่งที่เรียนรู้มาเป็นประจำ การจดบันทึกที่เจอเป็นประจำ หรืออ่านหนังสือแบบออกเสียงจะช่วยให้คุณพัฒนาความสามารถในการจดจำ รวมไปถึงการอธิบายหรือเล่าเรื่องต่าง ๆ ให้คนอื่นฟังก็ช่วยได้ เพราะจากการศึกษาพบว่าเมื่อมีการให้นักเรียนสอนหรืออธิบายความรู้ต่าง ๆ ให้กับนักเรียนคนอื่นฟัง จะเป็นการดึงเอาความทรงจำในเรื่องนั้น ๆ ที่มีอยู่กลับมาใช้อีกรอบ ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น และสามารถจดจำได้ดีขึ้น 5. กินอาหารที่มีประโยชน์ต่อสมอง น้ำหนักของสมองกว่า 50 - 60% คือไขมัน ซึ่งสำคัญเป็นอย่างมากต่อเซลล์สมอง การกินอาหารที่มีไขมันเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการพัฒนาความทรงจำระยะยาว อย่างไรก็ตามเราควรหลีกเลี่ยงของทอดต่าง ๆ เพราะถึงแม้จะมีไขมันแต่เป็นไขมันชนิดที่ไม่มีประโยชน์ต่อทั้งร่างกายและสมอง เราจึงควรเลือกไขมันที่ได้จากผักใบเขียว หรือปลาต่าง ๆ เช่น แซลมอน แอนโชวี่ และแม็กเคอเรลแทน 6.

บริหารสมองเสมอ หากเราหมั่นบริหารสมองอยู่เป็นประจำเซลล์สมองก็จะยิ่งได้รับการกระตุ้นให้เจริญเติบโตมากขึ้นเท่านั้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพทางด้านของการจดจำดีขึ้น สำหรับวิธีบริหารสมองนั้นสามารถทำได้ง่ายๆ เช่น เล่นหมากฮอส ต่อจิ๊กซอว์และเล่นครอสเวิร์ด เป็นต้น 2. ทานสมุนไพรช่วยเสริมความจำ มีผลการวิจัยระบุว่า เมื่อเราทานโสมเข้าไปแล้วในปริมาณ 400 มิลลิกรัม หลังจากนั้น 1 ชั่วโมง จะส่งผลให้ความสามารถในด้านของการจดจำดีขึ้นอีกทั้งยังสามารถส่งผลดีต่อสมองได้นานถึง 6 ชั่วโมงอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีการยืนยันเพิ่มเติมอีกว่า แปะก๊วย ก็เป็นพืชสมุนไพรอีกชนิดหนึ่งที่มีผลดีต่ระบบความจำเช่นเดียวกัน เพราะมันจะเข้าไปช่วยกระตุ้นระบบการไหลเวียนโลหิตภายในสมองให้หมุนเวียนดีขึ้นนั่นเอง 3.

การออกกำลังกายช่วยเรื่องการทำงานของสมอง การออกกำลังกายไม่เพียงแต่ทำให้ร่างกายแข็งแรง แต่ยังช่วยเรื่องการทำงานของสมองด้วย เพราะการไม่ออกกำลังกายจะทำให้เกิดคราบไขมันและหินปูน (Plaque) ในเส้นเลือดและหลอดเลือด ซึ่งจะทำให้ความสามารถในการสูบฉีดเลือดลดลง นอกจากจะเป็นสาเหตุให้เกิดอาการหัวใจวายแล้ว ยังทำให้ปริมาณออกซิเจนและสารอาหารที่เลือดนำไปเลี้ยงสมองลดลงอีกด้วย เมื่อสารอาหารไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ ก็จะทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานของสมองลดลง ดังนั้นการออกกำลังกายเป็นประจำจึงเป็นเรื่องที่ควรให้ความสำคัญ 2. อย่าเครียด เพราะมันส่งผลเสียต่อการจดจำ ความโกรธหรือความกังวลเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดความเครียด ส่งผลเสียต่อสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจดจำ ในบรรดาสาเหตุที่กระตุ้นให้เกิดความเครียดทั้งหมด อาการซึมเศร้าเป็นสิ่งที่ทำร้ายสมองได้มากที่สุด เมื่อเรามีอาการซึมเศร้าจะทำให้สาร Cortisol หลั่งออกมามากขึ้น ซึ่งหากมีสารนี้อยู่บริเวณสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับความจำระยะสั้นเป็นจำนวนมาก ก็อาจทำลายความสามารถในการจดจำสิ่งใหม่ ๆ ได้ ดังนั้นหากรู้สึกว่ามีอารมณ์ซึมเศร้า หรือเครียดก็ควรจะรีบปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญโดยเร็วที่สุด 3.

  1. ปลาย ผม แห้ง เสีย มาก
  2. ตัวอย่าง แผน ธุรกิจ เดลิ เว อ รี่
  3. แบบ ฟอร์ม หนังสือ ราชการ 2562
  4. สมัคร งาน บริษัท ยูนิตี้ บางปะหัน
พระ-สมเดจ-พมพ-ทรง-เจดย-วด-ระฆง-ชะลด-ใหญ
Fri, 13 Aug 2021 17:48:33 +0000