1. ไม่เคยยื่นภาษีมาก่อน จะโดนภาษีย้อนหลังไหม? | aomMONEY
  2. หากต้องเสียภาษี ขอผ่อนชำระได้สูงสุดกี่งวด | Prosoft WINSpeed

สวัสดีครับ กลับมาพบกับผม TAXBugnoms กันอีกแล้วครับ กับ บทความ ภาษี ที่มือใหม่ต้องรู้ สำหรับฤดูกาล ยื่นภาษี แบบนี้ มีหลายคนส่งข้อความมาถามที่เพจกันหลายคน ตั้งแต่วิธีการยื่น ภาษี ไปจนถึงปัญหาในการขอคืนภาษี และเรื่องราวอื่นๆอีกมากมาย วันนี้ฤกษ์ดีเลยอยากแชร์เคล็ดลับง่ายๆ 10 ข้อที่มือใหม่ยื่นภาษีทุกคนควรรู้ไว้ เพื่อที่จะได้ระวังและไม่มีปัญหาในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับปีนี้ครับ มาครับผม เรามาดูกันเลยดีกว่าว่า 10 ข้อควรระวังที่ว่านี้มีอะไรบ้าง 1. มีรายได้ต้องเอามาคำนวณภาษี หลายๆคนมีรายได้ครับ แต่เข้าใจผิดไปว่า การทำงานส่วนตัว ฟรีแลนซ์ ธุรกิจ ขายของออนไลน์ หรืองานอะไรก็ได้ที่ทำไปนั้น ไม่ต้องเสียภาษี ซึ่งความเป็นจริงนั้นคือ มีรายได้ = เสียภาษี (ยกเว้นว่าจะเป็นรายได้ที่ยกเว้นตามกฎหมาย) ดังนั้น อันดับแรกก่อนจะยื่นภาษี ขอให้ทำใจเก็บรวบรวมรายได้ทั้งปีที่ผ่านมาไว้ให้พร้อมเลยครับ 2. ถูกหักภาษีไว้ไม่ได้แปลว่าเสียภาษีแล้ว เรื่องนี้ก็เขียนไว้หลายครั้งครับ แต่ขอสรุปสั้นๆอีกครั้งว่า การถูกหักภาษีไว้ คือ การจ่ายภาษีล่วงหน้าเฉยๆ ซึ่งเรามีหน้าที่ต้องเอารายได้ที่ถูกหักภาษีไว้ทั้งหมดนี้มายื่นแบบแสดงรายการภาษีอีกทีหนึ่งครับผม 3.

ไม่เคยยื่นภาษีมาก่อน จะโดนภาษีย้อนหลังไหม? | aomMONEY

51 คือ กรณีประมาณการกำไรสุทธิขาดไปเกินกว่า 25% แล้วต้องเสียเงินเพิ่ม 20% ของภาษีที่คำนวณจากประมาณการกำไรสุทธิที่ได้ประมาณการขาดไป ตัวอย่างเช่น สมมติบริษัทแห่งหนึ่งยื่นแบบ ภ. 51 แสดงประมาณการกำไรสุทธิทั้งปีไว้เป็นเงิน 700, 000 บาท (ต้องเสียภาษีทั้งปี 140, 000 บาท) เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีไว้เป็นเงิน 70, 000 บาท เมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ปรากฏว่าบริษัทฯ มีกำไรสุทธิทางภาษีอากรตามแบบ ภ. 50 เป็นเงิน 1, 000, 000 บาท (ต้องเสียภาษีทั้งปี 200, 000 บาท) เท่ากับบริษัทฯ ประมาณการกำไรสุทธิขาดไป คิดเป็น (300, 000 X 100 หาร 1, 000, 000) = 30. 0% โดยไม่มีเหตุอันสมควร บริษัทฯ ต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มในอัตรา 20% ของเงินภาษีภาษี ที่ชำระไว้ขาด โดยคำนวณ ดังนี้ นำกึ่งหนึ่งของภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องชำระตามแบบ ภ. 50 คือ 100, 000 บาท หัก ด้วยภาษีเงินได้นิติบุคคลที่คำนวณได้ตามแบบ ภ. 51 จำนวน 70, 000 บาท ได้เป็นเงิน 30, 000 บาท ดังนั้น เงินเพิ่มตามมาตรา 67 ตรี แห่งประมวลรัษฎากรคิดเป็นเงิน (30, 000 x 20%) = 6, 000 บาท ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ต้องเสียเงินเพิ่มโดยใช่เหตุ หลายบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดทำประมาณการกำไรสุทธิและยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีครึ่งปีไว้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีที่แล้ว ซึ่งกรมสรรพากรให้ถือว่าเป็นกรณีมีเหตุอันสมควรตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.

  1. Carotid Duplex Ultrasounds การตรวจหลอดเลือดที่คอ มีส่วนช่วยโรคหลอดเลือดสมองอย่างไร ?
  2. Legend of the Dragon Pearl ลิขิตรักไข่มุกมังกร ตอนที่ 1-57 [จบ] พากย์ไทย (2017) - series-check-in
  3. “ปอนด์ – หฤทัย” รีวิวร้านชิคๆ พร้อมแชะภาพสุดเก๋ที่เกาะสมุย…สายเที่ยวห้ามพลาด!
  4. Kodak mobile film scanner ราคา software
  5. โต๊ะ คอมพิวเตอร์ โม เดิ ร์ น
  6. เทรซาเม่ อัลติเมท รีแพร์ สีม่วง แชมพู 450 มล. | Lazada.co.th
  7. 6 คำตอบเปิดใจ ทำไมคนเรามักให้อภัยและกลับไปคืนดีกับแฟนเก่า? | Dek-D.com
  8. Ample n eye cream รีวิว serum
  9. น้ำเต้า หลวง พ่อ สด รุ่น 2 ราคา
  10. ดู หนัง ออนไลน์ ฟรี พาก ษ์ ไทย

), เช็คที่มีธนาคารค้ำประกัน (เช็คประเภท ข. ), เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย (เช็คประเภท ค. ) และ เช็คที่ผู้มีหน้าที่ชำระเงินภาษีอากรเป็นผู้เซ็นสั่งจ่าย และใช้ชำระโดยตรง (เช็คประเภท ง. ) แต่การชำระด้วยเช็คหรือดราฟต์ จะมีเงื่อนไขที่สำคัญคือเรื่องเวลา โดยห้ามใช้เช็คลงวันที่ล่วงหน้า ห้ามใช้เช็คหรือดราฟต์โอนสลักหลัง และห้ามใช้เช็คหรือดราฟต์ที่มีจำนวนเงินสูงกว่าจำนวนภาษีอากรที่ต้องชำระ กรณียื่นที่ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา เช็คทุกประเภทหรือดราฟต์ ต้องลง วันที่ในเช็ค ในวันที่ยื่นแบบฯ หรือ ก่อนวันที่ที่ยื่นแบบฯ ไม่เกิน 15 วัน สำหรับเช็คประเภท ก. ข. ค. หรือดราฟต์ หรือไม่เกิน 7 วัน สำหรับเช็คประเภท ง. กรณียื่นที่ธนาคาร/ที่ทำการไปรษณีย์ เช็คทุกประเภท หรือดราฟต์ที่ชำระภาษี ต้องลงวันที่ในเช็คในวันที่ยื่นแบบฯ หรือก่อนวันที่ยื่นแบบฯ ไม่เกิน 7 วัน เมื่อกรมสรรพากร ได้รับเงิน ตามเช็ค หรือ ดราฟต์ครบถ้วนแล้วการชำระภาษี จะถือว่าสมบูรณ์ ชำระด้วยธนาณัติ แต่ต้องเป็นผู้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร หรือพูดง่ายๆ คือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในกรุงเทพฯ โดยส่งธนาณัติเท่ากับจำนวนเงินภาษีที่ต้องชำระ ไปพร้อมกับการ ยื่นภาษี โดยยื่นแบบ ภ.

ศ.

หากต้องเสียภาษี ขอผ่อนชำระได้สูงสุดกี่งวด | Prosoft WINSpeed

ง. ด. 90 หรือ ภ. 91 (ห้ามหักค่าธรรมเนียม ในการส่งธนาณัติ) โดยสั่งจ่าย "ผู้อำนวยการกองบริหารการคลังและรายได้ กรมสรรพากร" ปณ.

ออกจากงานระหว่างปีก็ต้องเสียภาษีนะ ตรงนี้อยากบอกตังๆว่า ออกจากงานแล้วไม่มีรายได้ แต่เรายังคงต้องเอารายได้ที่ได้รับในระหว่างปีมาเสียภาษีอยู่ดีนะครับ อย่าเพิ่งนิ่งนอนใจไปครับผม ส่วนใครที่ได้รับเงินจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพออกมาก็อย่าลืมเอามาคำนวณด้วยนะคร้าบ 4. ไม่ยื่นภาษีก็ไม่มีใครรู้ ข้อนี้ชอบมีคนถามมารัวๆ ว่าถ้าไม่ยื่นภาษีจะมีใครรู้ไหม คำตอบคือ ไม่รู้ครับ หมายถึงพี่หนอมเองนะที่ไม่รู้ ส่วน สรรพากร จะรู้ไหมต้องไปเสี่ยงดวงเอาครับ (ผ่างงงง) อะฮ่า แต่บอกได้แค่ว่า ถ้าถูกหักภาษีไว้ระหว่างปี แปลได้เลยว่า พี่ สรรพากร มีข้อมูลของคุณแล้วครับ ดังนั้นอย่าทำผิดกฎหมายกันเลยนะคร้าบ 5. ยื่นแล้วไม่ต้องส่งเอกสารนะ อีกข้อหนึ่งที่ถามกันเข้ามาบ่อยๆ คือ เวลายื่นภาษีจะให้ส่งเอกสารที่ไหน บอกไว้ ณ ตรงนี้อีกทีนะครับว่า ตอนยื่นไม่ต้องนำส่งเอกสารครับ แต่ว่าจะนำส่งเมื่อพี่ๆสรรพากรขอดูเท่านั้นครับ (ยกตัวอย่างเช่น ตอนขอคืน หรือ สงสัยว่าเรายื่นภาษีไว้ไม่ครบนั่นแหละครับ) และมันแปลว่า ยื่นเสร็จแล้วก็ต้องเก็บเอกสารไว้อยู่นะครับ 6. ขอคืนภาษีต้องสมัคร พร้อมเพย์ สำหรับคนที่ต้องการขอคืนภาษี ไม่จำเป็นต้องสมัคร พร้อมเพย์ นะครับ เพียงแต่ว่าถ้าสมัครจะได้คืนเร็วกว่า แต่ถ้าไม่สมัครก็รอเช็คไปเหมือนเดิมครับผม เพียงแต่รอนานหน่อย ต้องทำใจ 7.

5% ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีงวดที่เหลือ เช่น หากคุณขอผ่อนชำระภาษี 6, 000 บาท 3 งวด แบ่งจ่ายงวดละ 2, 000 บาท หากคุณจ่ายในงวดแรกไปแล้ว แต่งวดที่ 2 คุณไม่ได้ชำระภายในเวลากำหนด คุณจะถูกตัดสิทธิผ่อนชำระทันที และต้องจ่ายเงินทีเหลือ 4, 000 บาท ในครั้งเดียว พร้อมเสียเงินเพิ่มอีก 1. 5%ต่อเดือน นับจากวันที่ผิดนัดชำระถึงวันที่คุณนำเงินมาชำระ ถ้าไม่ชำระในเวลากำหนด หรือชำระไม่ถูก ผิดอะไรบ้าง หากคุณไม่ได้ชำระภาษีภายเวลากำหนด หรือชำระไม่ถูกต้องตามกฎหมาย จะมีบทลงโทษเกี่ยวกับภาษีอาการ ที่คุ้นเคยกันก็คือ "เบี้ยปรับ หรือจ่ายเงินเพิ่ม" แต่ขึ้นอยู่กับความผิดว่าร้ายแรงแค่ไหน โดยบางความผิดอาจมีโทษทางอาญาร่วมด้วย กรณีไม่ชำระภาษีภายในกำหนดเวลา จะต้องเสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1. 5 ต่อเดือน (เศษของเดือนให้นับเป็น 1 เดือน) ของเงินภาษีที่ต้องชำระนับแต่วันพ้นกำหนดเวลาการยื่นรายการจนถึงวันชำระภาษี กรณีเจ้าพนักงานตรวจสอบออกหมายเรียก และปรากฏว่ามิได้ ยื่นภาษี หรือยื่นแบบแสดงรายการไว้หรือยื่นแบบแสดงรายการไว้แต่ชำระภาษีขาดหรือต่ำไป นอกจากจะต้องรับผิดชำระเงินเพิ่มแล้ว ยังจะต้องรับผิดเสียเบี้ยปรับอีก 1 เท่าหรือ 2 เท่าของภาษีที่ต้องชำระแล้วแต่กรณี เงินเบี้ยปรับดังกล่าวอาจลดหรืองดได้ตามระเบียบที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี กรณีไม่ยื่นแบบแสดงรายการ ภ.

28 มิ. ย. 2564 14:23 น.

ใช้แรงทำเงิน & ให้เงินทำงาน กด Subscribe รอเลย… Facebook | Line | Youtube | Instagram การยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีตามแบบ ภ. ง. ด.

แบบ-บาน-ทรง-ล-อ-ฟ
Wed, 11 Aug 2021 05:45:18 +0000