ปรับปรุงแก้ไขตามข้อแนะนำของผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์ 7. นำไปแบบทดสอบไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง และได้เรียนเนื้อหาในแบบทดสอบนี้แล้ว 8. นำกระดาษคำตอบมาวิเคราะห์เพื่อหาคุณภาพ ด้านความเที่ยง (Reliability) ความยากและอำนาจจำแนก (อาจทำไปทดลองสอบซ้ำอีก 2-3 ครั้ง และวิเคราะห์ซ้ำอีกก็ได้) 9. คัดเลือกข้อสอบที่เข้าเกณฑ์ คือ ความยาก. 20 ถึง. 80 ค่าอำนาจจำแนก. 20 ถึง 1. 00 และให้ได้ข้อสอบครบถ้วนตามต้องการ และคุณภาพด้านความเที่ยง มีค่าตั้งแต่. 70 ขึ้นไปถือว่าใช้ได้ 10.

การ วิจัย และ พัฒนา ทางการ ศึกษา ออนไลน์

3 นำชุดการสอน ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบบทดลอง 2. 4 เปรียบเทียบผลการเรียน เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติต่อการเรียน เป็นต้น 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบวัดเจตคติ เป็นต้น โดยที่เครื่องมือเหล่านี้ต้องอาศัยการสร้างตามหลักวิชา มีขั้นตอนสร้างให้เกิดคุณภาพ ของเครื่องมือ ก่อนนำไปใช้ดังนี้ ตัวอย่างการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 1. ศึกษาวิธีสร้างแบบทดสอบที่ดี และวิธีวิเคราะห์หลักสูตร 2. ศึกษาหลักสูตร คู่มือครู เอกสารหลักสูตรอื่น ๆ 3. สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร แล้วนำตารางวิเคราะห์ให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์พิจารณา 4. สร้างแบบทดสอบ มากกว่าต้องการจริงประมาณ ร้อยละ 20-50 เช่น ต้องการ 100 ข้อ จะสร้างประมาณ 120-150 ข้อ 5. นำแบบทดสอบไปให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์ตรวจสอบความตรง เชิงเนื้อหาและโครงสร้าง (Content and Construct Validity) โดยที่ผู้เชี่ยวชาญประมาณ 3-5 คน ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในด้านเนื้อหา หลักสูตร การสอน การวิจัย วัดผลและประเมินผล ในขั้นตอนนี้จะใช้แบบประเมินความสอดคล้องของข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ด้วย 6.

การวิจัยในชั้นเรียน (CAR) - Fan Club Prin

ความต้องการการพัฒนาด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1 โดยภาพรวมพบว่ามีความต้องการอยู่ในระดับ มาก และ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือด้านการส่งเสริมสนับสนุนการทำวิจัยในชั้นเรียน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการเผยแพร่ผลงานการวิจัยในชั้นเรียน 2. ผลการเปรียบเทียบความต้องการการพัฒนาด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1 พบว่า ครูที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีประสบการณ์การสอนต่างกัน มีความต้องการการพัฒนาด้านการทำวิจัยในชั้นเรียน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ไม่แตกต่างกันในทุกด้านและหากพิจารณาจำแนกตามการอบรมเกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียน พบว่า ครูที่ได้รับการอบรมการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0. 05 โดยครูที่ไม่เคยได้รับการอบรมการทำวิจัยในชั้นเรียนมีความต้องการการพัฒนาด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนมากกว่าครูที่เคยได้รับการอบรมการทำวิจัยในชั้นเรียนและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียน ด้านการนำผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ประโยชน์และด้านเผยแพร่ผลงานการวิจัยในชั้นเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.

การพัฒนากิจกรรมโครงงานภาษาอังกฤษเกี่ยวกับเรื่องท้องถิ่นจังหวัดสิงห์บุรี เพื่อพัฒนาทักษะทางการอ่าน-เขียนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 : ครูไทย – ชุมชนครูและบุคลากรทางการศึกษาออนไลน์

05 หรือมั่นใจร้อยละ 95 ค่า t วิกฤติเท่ากับ 1. 699 เกณฑ์การเปรียบเทียบคือ ค่า t จากการคำนวณจะต้องมากกว่าหรือเท่ากับ ค่า t วิกฤติในกรณีตัวอย่างนี้ ต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 1. 699 ส่วนการสรุป หากค่า t คำนวณมากกว่าหรือเท่ากับค่า t วิกฤติ เราจะสรุปได้ตามตัวอย่าง ดังนี้ ตัวอย่างการสรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ด้วยนวัตกรรมสูงกว่าหรือสูงกว่าร้อยละ 70 (เป้าหมายที่กำหนด) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05

/กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา - กลุ่มนิเทศฯสพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

  1. การ วิจัย และ พัฒนา ทางการ ศึกษา ออนไลน์
  2. การ วิจัย และ พัฒนา ทางการ ศึกษา doc
  3. การ วิจัย และ พัฒนา ทางการ ศึกษา คือ

การ วิจัย และ พัฒนา ทางการ ศึกษา คือ

2. 1 ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย เกี่ยวกับการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 1. 2 วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อต้นแบบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานศึกษา 1. 3 ส่งเสริมสนับสนุน ให้สถานศึกษาที่ดำเนินการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนผลการวิเคราะห์ วิจัยนำไปใช้และเผยแพร่สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ผลสำเร็จที่คาดหวัง เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาทุกแห่ง ได้ศึกษาและนำผลการวิเคราะห์ วิจัยไปใช้ในการพัฒนาสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๒๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

พระ-สมเดจ-พมพ-ทรง-เจดย-วด-ระฆง-ชะลด-ใหญ
Thu, 12 Aug 2021 12:08:15 +0000