โพสต์ 28 ม. ค.

ด รีม เอ็ ก เซล แต่ง สวย

มีความสั้น กระทัดรัดและกระชับ ( Concision) คือเลือกเฉพาะสาระที่เป็นประเด็นใจความสำคัญของเอกสาร โดยใช้สำนวนที่กระทัดรัด มีความกระชับ หลีกเลี่ยงการใช้คำหรือประโยคที่มีความยาว หรือมีความซ้ำซ้อนความยาวของบทคัดย่อไม่มีกำหนดไว้ตายตัว ขึ้นอยู่กับชนิดของเอกสารและเนื้อหาสาระของเอกสารนั้น ๆ ว่า มีความสำคัญมากน้อยเพียงใด โดยทั่วไปบทคัดย่อจะมีเพียง 1 ย่อหน้า แต่สำหรับเอกสารงานวิจัยมีได้มากกว่า 2. มีความถูกต้อง ( Precision) คือสามารถถ่ายทอดประเด็นสำคัญของเอกสารได้อย่างถูกต้อง ตามความหมายเดิมของเอกสารต้นฉบับ ไม่ควรมีการตีความหรือแสดงความคิดเห็นใด ๆ อันทำให้ผู้อ่านเข้าใจสาระของเอกสารต้นฉบับผิดไป 3. มีความชัดเจน ( Clarity) การเรียบเรียงถ้อยคำเพื่อเสนอในบทคัดย่อจะต้องสื่อความหมายให้เข้าใจชัดเจน โดยใช้รูปประโยคที่สมบูรณ์ไม่ใช่เขียนกระท่อนกระแท่นเป็นคำ ๆ

ใช้ น้ํา อุ่น สระ ผม

เฟแนร์บาห์แชสปอร์คูลือบือ (ฟุตบอล) Info. About. What's Thi

มี ความเฉพาะ กระชับ ชัดเจน ประโยคแต่ละประโยคมีความหมาย โดยเฉพาะประโยคนำพยายามเขียนให้สั้นที่สุด 3. มีลักษณะของการรายงานมากกว่าการประเมิน จึงไม่ควรมีคำวิจารณ์นอกจากการรายงานสาระข้อมูลตัวเลขที่สำคัญที่ได้จากการทำโครงงาน ความน่าอ่านและราบรื่น การเขียนใช้ประโยคสมบูรณ์ ในรูปแบบของกรรมกริยา ( Active Voice) ใช้ปัจจุบันกาลเมื่อบรรยายสรุปและประยุกต์ผลการทำโครงงาน หรือพัฒนาต่อ ในขณะที่ใช้อดีตกาลเมื่อกล่าวถึงวิธีพัฒนาและการทดสอบ ประเภทของบทคัดย่อ: บทคัดย่อมี 2 ประเภทคือ 1. บทคัดย่อประเภทให้ข้อมูลความรู้ ( Informative Abstract) เขียนเพื่อรายงานผลการศึกษา หรือบทสรุปที่ผู้ใช้ต้องการอย่างเพียงพอ เพื่อหลีกเลี่ยงความจำเป็นในการอ่านเอกสารต้นฉบับ 2. บทคัดย่อประเภทพรรณนา ( Indicative of Descriptive Abstract) เขียนเพื่อชี้แนะข้อเท็จจริงที่สำคัญที่สุดในเอกสาร โดยปราศจากรายงานถึงผลการศึกษา ค้นคว้า หรือสรุป เพื่อให้ผู้อ่านใช้ประกอบการตัดสินใจ ว่าจะต้องอ่านหรือศึกษาเอกสารต้นฉบับหรือไม่ โดยทั่วไปนิยมใช้เขียนเพื่อสรุปเอกสารที่นำเสนอ หรือทัศนคติที่กว้างขวาง เช่น เอกสารด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือบทวิจารณ์ เป็นต้น การเขียนบทคัดย่อมีหลักสำคัญ 3 ประการ ดังนี้ 1.

……………………………………………………………………………………… ชื่อผู้ทำโครงงาน 1. …………………………………………………….. 2. 3. …………………………………………………… ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ………………………………………….. ……………………. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ……. ……………………………………………………. 1. รูปแบบการพิมพ์ การเขียนรายงาน คู่มือการติดตั้ง และคู่มือการใช้งาน ให้ใช้โปรแกรม OpenOffice Writer หรือ Word ภาษาไทย 97 ( เป็นอย่างต่ำ) โดยใช้ตัวอักษรขนาด 16 กำหนดขอบด้านซ้าย ด้านขวา บน และล่าง 1 นิ้ว พร้อมระบุเลขหน้า พิมพ์บนกระดาษขาว ขนาดมาตรฐาน A4 ผู้พัฒนาต้องเข้าเล่มรายงานให้เรียบร้อย โดยใช้กระดาษแข็งทำปกหน้าและปกหลัง 2. รูปแบบรายงาน ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้ • หน้าปก ( Cover) ตามแบบที่โรงเรียนกำหนด • กิตติกรรมประกาศ ( Acknowledgement) ระบุข้อความการได้รับการสนับสนุนจากโรงเรียน จากครู หรือหน่วยงานที่มอบทุน อุดหนุน พร้อมระบุชื่อโครงการไว้ด้วย • เนื้อหาของรายงาน ประกอบด้วย 2. 1 บทคัดย่อ (ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ) 2. 2 บทนำ (แนวคิด ความสำคัญ และความเป็นมาของโครงการ) 2. 3 สารบัญ 2. 4 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 2. 5 รายละเอียดของการพัฒนา 2. 5. 1 เนื้อเรื่องย่อ ( Story Board) ภาพประกอบ แบบจำลอง หรือ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโปรแกรม หรือ ผลงานที่สื่อให้เห็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น 2.

รูปแบบและวิธีเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ - paisan23642

ส่วนนำ เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน ซึ่งประกอบด้วย >> ชื่อโครงงาน >> ชื่อสาขาของงานวิจัย >> ชื่อผู้ทำโครงงาน >> ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา >> คำขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ได้รับความช่วยเหลือและร่วมมือจากหลายฝ่าย จึงควรกล่าวขอบคุณบุคลากรหรือหน่วยงานต่างๆ ที่มีส่วนช่วยให้โครงงานนี้สำเร็จ >> บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ และผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปต่างๆ อย่างย่อ (ประมาณ 250-400 คำ) 2. บทนำ เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย >> ที่มาและความสำคัญของโครงงาน >> วัตถุประสงค์ >> ขอบเขตของโครงงาน 3. หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่ผู้เรียนนำมาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 4. วิธีดำเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำเนินงานโดยละเอียด ระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบ วิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ ที่ต้องใช้ในการทำงาน 5. ผลการศึกษา นำเสนอข้อมูล หรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงความเข้าใจของผู้อื่นเป็นหลัก 6.

โครงงานคอมพิวเตอร์ - Google Docs

2 ทฤษฎีหลักการและเทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ เช่น เทคโนโลยีด้านปัญญาประดิษฐ์ Algorithms ที่ใช้ โครงสร้างข้อมูล เป็นต้น โดยผู้พัฒนาต้องให้รายละเอียดที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 2. 3 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ ภาษาที่ใช้เขียน Tools อื่นๆ ที่ใช้ช่วยในการพัฒนาโปรแกรม และอื่นๆ 2. 4 รายละเอียดโปรแกรมที่ได้พัฒนาในเชิงเทคนิค ( Software Specification) ได้แก่ • Input/Output Specification • Functional Specification • โครงสร้างของซอฟต์แวร์ ( Design) • อื่นๆ • ผู้พัฒนาต้องชี้แจงส่วนสำคัญที่ทีมงาน/ผู้พัฒนาได้พัฒนาขึ้นเอง รวมทั้งต้องระบุแหล่งที่มาของโปรแกรม หรือ Source Code อื่นที่มาประกอบในโปรแกรมไว้ด้วย โดยมิต้องจัดพิมพ์ Source Code แนบมา 2. 4 ขอบเขตและข้อจำกัดของโปรแกรมที่พัฒนา 2. 5 คุณลักษณะของอุปกรณ์ที่ใช้กับโปรแกรม (ถ้ามี) 2. 6 กลุ่มผู้ใช้โปรแกรม 2. 7 ผลของการทดสอบโปรแกรม 2. 8 ปัญหาและอุปสรรค 2. 9 แนวทางในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ร่วมกับงานอื่นๆ ในขั้นต่อไป 2. 10 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ 2. 11 เอกสารอ้างอิง ( Reference) เพื่อบอกว่าผู้ทำโครงงานใช้ข้อมูลจากแหล่งใด และเพื่อเป็นการแสดงมารยาททางวิชาการและให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน ตลอดจนเพื่อให้ผู้อื่นทราบถึงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ถูกนำมาใช้ เผื่อว่าหากมีผู้สนใจและต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม จะสามารถติดตามแหล่งข้อมูลได้ 2.

โครงงานคอมพิวเตอร์ - Google Docs

โครงงานคอมพิวเตอร์ : ความหมายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์

  1. อุด ฟัน สี ขาว ราคา
  2. คน ผม เยอะ ตัดผม สั้น
  3. โครงงานคอมพิวเตอร์ : ความหมายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
  4. โครงงานคอมพิวเตอร์ - Google Docs
  5. คู่มือ การ ใช้ photoshop cs6
  6. ราคา รถ isuzu d max 2020 model

บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร และ/หรือเว็บไซต์ต่างๆ ที่ผู้ทำโครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการทำโครงงานนี้ ต้องศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ อย่างน้อย 5 แหล่ง การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย 8. คู่มือการใช้งาน หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทำเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้ผู้เรียนจัดทำคู่มือวิธีการใช้งาน ด้วย คู่มืออธิบายวิธีการใช้งาน ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้ 3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทำงานได้อย่างสมบูรณ์ 4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และส่งอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำงานในฟังก์ชันหนึ่งๆ 6.

พระ-สมเดจ-พมพ-ทรง-เจดย-วด-ระฆง-ชะลด-ใหญ
Wed, 11 Aug 2021 18:46:02 +0000